การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ

        ... เนื่องจากปญหา “ครอบครัวยากจน” เปนปญหาเชิงซอน ดังนั้นการดําเนินการแกไขปญหา จึงยากที่จะแกไขดวยนโยบายหรือภารกิจดานใดดานหนึ่งได แตตองมีการบูรณาการภารกิจของสวนราชการที่รวมกันปฏิบัติเพื่อแกไขปญหา และที่สําคัญที่สุดตองเขาไปแกไขปญหาเปนรายครอบครัว เพราะแตละครอบครัวยากจนมีสาเหตุ มีเงื่อนไขของปญหาที่หลากหลายและแตกตางกัน กาวตอไปการแกไขปญหาครอบครัวยากจนจึงตองแกไขดวย“การบูรณาการการบริหารจัดการเปนรายครอบครัว” ที่จะใหสวนราชการระดมสรรพกําลังเขาชวยเหลือเพื่อใหครอบครัวยากจนมีโอกาสที่จะแขงขันตอสูในสังคมที่มีการแขงขันเพื่อบรรลุเปาหมายชีวิตของครอบครัวตัวเอง

แนวคิดและแนวทางในการบูรณาการการบริหารจัดการครอบครัวยากจนรายครอบครัว
        มีแนวคิดสําคัญพื้นฐานอยู3 แนวคิดประกอบดวย
        แนวคิดแรก ปญหาความยากจนเกิดจากการที่ครอบครัวยากจนมีการบริหารจัดการชีวิตที่ไมเหมาะสม สามารถแกไขดวยการบริหารจัดการชีวิต หรือการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
        แนวคิดที่สอง ปญหาความยากจนเปนปญหาเชิงซอน ไมใชปญหาเชิงเดียว ไมสามารถแกไขดวยการสงเสริมอาชีพใหประชาชนมีอาชีพและรายไดแตเพียงอยางเดียว
        แนวคิดที่สาม ปญหาความยากจนภายในครอบครัวมีความหลากหลายของสาเหตุปญหาและเงื่อนไขตองเขาไปบริหารจัดการเปนรายครอบครัว

ความยากจน: การบริหารจัดการดวยเข็มทิศชีวิต
        ภายใตแนวคิดทั้ง3 ประการเบื้องตน จึงไดกําหนดกระบวนการการบริหารจัดการแกไขปญหาครอบครัวยากจน 4 กระบวนการ กลาวคือ
        1. กระบวนการชี้เปาชีวิต
        2. กระบวนการจัดทําเข็มทิศชีวิต(แผนที่ชีวิต)
        3. กระบวนการบริหารจัดการชีวิต
        4. กระบวนการดูแลชีวิต
        กระบวนการชี้เปาชีวิต (Life indentification)
        กระบวนชี้เปาชีวิตเปนกระบวนการเริ่มตนในการตรวจสอบและชี้เปาหมายครอบครัวยากจน โดยการระบุครอบครัวยากจนจากขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ) ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนไดมีการสํารวจทุกปี ... จากขอมูลความจําเปนพื้นฐานที่ไดจากการสํารวจดังกลาว จะตองนําขอมูลมาตรวจสอบยืนยันความถูกตองจากสวนราชการอื่นๆ และที่สําคัญตองมีการลงไปตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่ เพื่อระบุครอบครัวยากจนที่ถูกตอง เมื่อสามารถระบุครอบครัวยากจนไดแลว กระบวนการที่จะเริ่มดําเนินการตอไป ก็คือ ทีมเจาหนาที่ที่ประกอบไปดวยพัฒนากรของกรมการพัฒนาชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นตลอดจนผูนําชุมชนจะตองเขาไปเคาะประตูบาน เพื่อพูดคุยทําความเขาใจกับครอบครัวยากจนเพื่อวิเคราะหสาเหตุของปญหาความยากจนเปนรายครอบครัว เพื่อใหทราบถึงปญหาตางๆ อยางรอบดาน และที่สําคัญที่สุด ในกระบวนการชี้เปาชีวิตนี้ คือการทําใหครอบครัวยากจนตระหนักและยอมรับสาเหตุของปญหาความยากจนที่เกิดขึ้น การยอมรับปญหาจะชวยทําใหเกิดความรวมมือที่จะรวมกันขจัดปญหา นําไปสูการแกไขปญหาความยากจนรายครอบครัวที่ถูกตอง
        กระบวนการชี้เปาชีวิตนี้จะทําใหภารกิจในการเก็บขอมูล จปฐ. เพื่อการพัฒนาชนบทไดรับการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับสวนราชการ เปนการสรางความรับรูรวมกันของสวนราชการที่จะกาวเขามาแกไขปญหาครอบครัวยากจนแบบบูรณาการ โดยมีกลุมเปาหมายที่ชัดเจน กอใหเกิดการทํางานที่ไมซ้ำซอน และแตละหนวยงานจะเขามาชวยกันปฏิบัติงานสรางมูลคาเพิ่ม (value added) ในภารกิจของตัวเองในการแกไขความยากจนแบบบูรณาการ
        กระบวนการจัดทําเข็มทิศชีวิต(Life Compass)
        “กระบวนการจัดทําเข็มทิศชีวิต” หรืออาจเรียกอีกชื่อหนึ่งวา“แผนที่ชีวิต” คือกระบวนงานที่ครอบครัวยากจนพัฒนากรของกรมการพัฒนาชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูนําชุมชนจะตองรวมมือกันดําเนินการโดยดึงทุนชีวิตของครอบครัวยากจนออกมาบริหารจัดการทํา“SWOT” เพื่อวิเคราะหจุดออน จุดแข็ง ภัยคุกคามและโอกาสของชีวิตที่จะเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาไปสูการแกไขปญหามีคุณภาพชีวิตหรือมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดีขึ้น และจัดทําเข็มทิศ หรือแผนที่ชีวิตและนําไปแกไขปญหาไปทีละขั้นทีละตอนเพื่อใหชีวิตหลุดพนจากความยากจนซ้ำซาก
        ในกระบวนงานจัดทําเข็มทิศชีวิตนี้หลักการสําคัญอยูที่การพัฒนากรและทีมงานจะเขาไปกระตุนและสนับสนุนใหครอบครัวยากจนคิดคนวิธีการที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตหรือพัฒนาชีวิตใหดีขึ้นออกมาเปนรูปธรรมอยางเปนขั้นตอน และความเปนรูปธรรมที่เกิดขึ้นตองสามารถปฏิบัติได และที่สําคัญที่สุด ในขั้นตอนนี้คือการสรางความเคารพตอขอผูกพัน(commitment) ในเข็มทิศชีวิตหรือแผนที่ชีวิตใหเกิดขึ้นวา ครอบครัวยากจนจะกาวเดินไปตามเข็มทิศชีวิตของเขาเอง ขอผูกพันตอเข็มทิศชีวิตของครอบครัวยากจนที่เกิดขึ้นนี้จะไมมีประโยชนเลยหากชีวิตในครอบครัวยากจนไมเคารพและปฏิบัติตามอยางจริงจัง ดังนั้นพัฒนากรและทีมงานจะตองเขาไปใหการสนับสนุน ใหคําปรึกษา ใหกําลังใจแกครอบครัวยากจนในการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของตัวเอง การจัดทําบันทึกขอตกลงระหวางครอบครัวยากจนกับทีมงานที่เขาไปชวยดําเนินงาน อาจเปนแนวทางหนึ่งที่จะแสดงออกซึ่งฉันทานุมัติรวมกันในการแกไขปญหาความยากจน แตฉันทานุมัตินี้จะตองไดรับความเคารพรวมกัน
        กระบวนการบริหารจัดการชีวิต (Life Management)
        กระบวนการบริหารจัดการชีวิตเปนกระบวนการที่ตองการบูรณาการการมีสวนรวมของสวนราชการหรือหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของเขามาชวยหนุนเสริมครอบครัวยากจนในการแกไขปญหาของตัวเอง ซึ่งกระบวนการบริหารจัดการชีวิตนี้ตองการการบริหารจัดการใน 3 สวน
        สวนที่หนึ่ง คือ การบริหารจัดการชีวิตของครอบครัวยากจนเอง ซึ่งเปนสวนที่สําคัญที่สุดในการแกไขปญหาความยากจน เปนสิ่งที่ครอบครัวยากจนจะตองเปลี่ยนแปลงตัวเองตามขอผูกพันตามเข็มทิศชีวิตที่กําหนด ซึ่งคลินิกหรือทีมพัฒนาชีวิตระดับหมูบานจะตองเขาไปดูแลและใหกําลังใจในการปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวิธีคิด เชน การลด ละ เลิกเหลา บุหรี่ หรือการพนัน การเขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติด การประหยัด รูจักใชเงินอยางมีเหตุผล การใชเวลาวางใหเกิดประโยชน การลดการบริโภคที่เกินความจําเปน และการจัดการทําบัญชีครัวเรือนเพื่อเตือนใจตนเองในการใชจายเงิน เปนตน
        สวนที่สอง คือ การสนับสนุนจากชุมชนที่ครอบครัวยากจนดําเนินชีวิตอยู ในสวนนี้ชุมชนจะตองเขามามีสวนรวมในการชวยครอบครัวยากจนในการพัฒนาชีวิตดวยความเอื้ออารีตอกัน ดวยการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิถีการดําเนินชีวิต เสริมสรางสิ่งแวดลอมที่ดีแกครอบครัวยากจน มีการชวยเหลือเกื้อกูลใหครอบครัวยากจนในดานเศรษฐกิจ การชวยเหลือในเรื่องการแกไขปญหาหนี้สินนอกระบบดวยกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กองทุนแกไขปญหาความยากจน(กข.คจ.) หรือการใหการสงเคราะหดานสวัสดิการชุมชนแกครอบครัวยากจนตลอดจนการรวมกลุมสงเสริมอาชีพ เปนตน
        สวนที่สาม คือ การบูรณาการสวนราชการ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อรวมมือกันแกไขปญหา โดยยึดครอบครัวยากจนเปนเปาหมาย ยึดเข็มทิศชีวิตหรือแผนที่ชีวิตเปนแนวทางการดําเนินงาน โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ จะตองขับเคลื่อน ผลักดันและขอความรวมมือนําเข็มทิศชีวิตของครอบครัวยากจนไปบรรจุอยูในแผนชุมชน แผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาทองถิ่น แผนพัฒนาอําเภอและแผนพัฒนาจังหวัดตอไป
        การบูรณาการการแกไขปญหาความยากจนของสวนราชการและหนวยงานของรัฐโดยใชแผนชุมชน แผนพัฒนาทองถิ่น แผนพัฒนาอําเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด จะเปนเครื่องมือ หรือกลไกขับเคลื่อนในการแกไขปญหาครอบครัวยากจนใหเปนไปอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นสวนราชการอื่นที่มีภารกิจหนาที่(function) ตามกฎหมายก็จะไดใชครอบครัวยากจนเปนเปาหมายในการดําเนินงาน ใชเข็มทิศชีวิตเปนแนวทางในการดําเนินงาน อันจะเปนการระดมสรรพกําลังภาครัฐในการแกไขปญหาความยากจนแบบบรูณาการอันจะกอใหเกิดความคุมคาแหงรัฐในการใชจายงบประมาณ
        กระบวนการดูแลชีวิต(Life improvement)
        กระบวนการดูแลชีวิต คือ การเขาไปพบปะ พูดคุย สนับสนุน ใหคําแนะนํา ใหกําลังใจครอบครัวยากจนในการตอสูกับความยากจนเปนระยะ ๆ เพื่อปรับปรุงเข็มทิศชีวิตหรือแผนที่ชีวิตใหมีความสมบูรณ เหมาะสมยิ่งขึ้นเมื่อไดมีการบริหารจัดการชีวิตไปแลว และเพื่อสะทอนภาพปญหาในการดําเนินการบริหารจัดการชีวิตครอบครัวยากจนของสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของวาไดดําเนินการบรรลุเปาหมายตามแผนระดับตางๆ หรือไม
        กระบวนการดูแลชีวิตนี้คลายคลึงกับการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหลักการบริหารงานสมัยใหม แตมีเปาหมายที่จะเขาไปใหกําลังใจ สนับสนุน ใหคําปรึกษา เปนกระบวนการปรับปรุงและตรวจสอบ เพื่อใหสวนราชการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชนและครอบครัวใหความสําคัญ และรวมมือในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง
        กระบวนการดูแลชีวิตนี้ไมใชเปนกระบวนการระยะสั้น แตเปนการดูแลชีวิตระยะยาว เนื่องจากการแกไขปญหาความยากจนหรือครอบครัวยากจนเปนกระบวนการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ปรับเปลี่ยนวิธีคิด จึงตองใชเวลาในการดําเนินงานหลายป  ตามแตสภาพปญหาของครอบครัวยากจน ดังนั้นจะเปนการเขาใจผิดอยางยิ่งที่สวนราชการหรือหนวยงานของรัฐ เมื่อชวยใหครอบครัวยากจนใหมีอาชีพ มีรายไดเพิ่มขึ้นจนพนจากความยากจน ดังนั้นกระบวนการดูแลชีวิตจะตองเขาไปดูแล สนับสนุน ใหกําลังใจครอบครัวยากจนใหมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจริง ๆ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเปนระยะ จนกวาจะมั่นใจไดวาครอบครัวยากจนมีวิถีชีวิตที่หลุดพนจากวงจรอุบาทวแหงความยากจน ในกระบวนการนี้ชุมชนและผูนําชุมชน จะมีบทบาทสําคัญที่สุดในการดูแลประคับประคองใหครอบครัวยากจนพนจากความยากลําบากในการดําเนินชีวิต

กระบวนการการบริหารจัดการครอบครัวยากจนแบบบูรณาการ


การบริหารจัดการครอบครัวยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิตและดูแลชีวิต
โดย นายนิสิต จันทรสมวงศ อดีตรองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

การดำเนินงานของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอชำนิ
    พ.ศ.2557
        - 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ตัวอย่างระเบียบกองทุนหมู่บ้าน ว่าด้วยการบริหารโครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ

        คลิกดาวน์โหลด ตัวอย่างระเบียบกองทุนหมู่บ้าน ว่าด้วยการบริหารโครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ